สื่อต่างๆ ของอิสราเอล ได้ทำการถ่ายทอด และบอกเล่า เรื่องราวชีวิตของ เอเรียล ชารอน อดีตนายก รัฐมนตรี อิสราเอล ภายหลังที่ เขาได้ตายลงไป
ใน ปี 2006 ขณะที่ เอเรียลชารอน ดำรงตำแหน่ง นายกรัฐมนตรีอิสราเอลนั้น เขาได้ ตั้งพรรคใหม่ขึ้นมาพรรคหนึ่ง มีชื่อ “คอดีมา” ซึ่งต่อมา หลังจากที่สมองของเขาหยุดการทำงาน มีการใช้จ่ายเงินทองมากมาย ในการรักษาชายผู้หลั่งเลือดมนุษยชาติคนนี้
ชารอน รักษาตัวอยู่ใน โรงพยาบาล จนถึงปี 2010 ซึ่งตั้งอยู่ใกล้เมืองเทลอาวีฟ ภายใต้การรักษาความปลอดภัยอย่างเข้มงวด และยังมีทีมแพทย์ ที่คอยเฝ้าดูแดอาการอย่างใกล้ชิด ตลอด 24 ชม เพื่อป้องกันกรณีฉุกเฉิน อยู่ตลอดเวลา
สำนักข่าว ยูเรนิวส์ รายงาน อาการทรุดหนักของเอเรียล
ชารอน เป็นคนที่มีร่างกายอ้วน และน้ำหนักเพิ่มอยู่ตลอดเวลา แต่ตามที่แพทย์ ได้กล่าว หลังจากการเสียชีวิต ของเขา น้ำหนักของเขานั้น น้อย กว่า 50 กิโลกรัม ซึ่ง ในปีหลังที่ผ่านมา การรักษาชารอน ถูกย้ายจาก โรงพยาบาล ไป รักษาที่บ้านของเขา ซึ่งอยู่ทางตอนใต้ของอิสราเอล ซึ่งค่าใช้จ่ายในการรักษา นายชารอน คนนี้ ประมาณ 5 แสนดอลลาร์ เพื่อยื้อชีวิตของเขา ซึ่งสื่อบางสำนัก ได้ออกมาวิเคราะห์ให้เห็นว่า เป็นเพราะค่าใช้จ่ายที่ที่สูงลิ่ว ทำให้เขา ต้องออกจากโรงพยาบาล มารักษาที่บ้าน
เราจะขอกล่าวถึงประวัติการก่ออาชญากรรม ของชายผู้หลั่งเลือดมนุษยชาติผู้นี้ อีกครั้งหนึ่ง
เขาคือผู้ที่เริ่มต้นฆ่าสังหารชาวปาเลสไตน์ตั้งแต่ อายุ 13 ปี!!
เอ เรียล ชารอน คือ ผู้บัญชาการทหาร และนายกรัฐมนตรี รัฐเถื่อนไซออนิสม์ ถือกำเนิดในปี 1928 ในครอบครัว ชาวยิว และโปแลนด์ หลังจากที่ได้อพยพไปสู้ปาเลสไตน์ ชารอน ได้แสดงให้เห็นถึงความอำมหิต และจิตใจที่หยาบกระด้าง และยังฉายแววให้เห็นถึงความสามารถในการก่ออาชญากรรมได้เป็นอย่างดี
เขา เริ่มต้น ด้วยการเข้าร่วม กลุ่ม ฮากานา ตั้งแต่ อายุ 13 ปี ซึ่งสมาชิกในกลุ่มนี้มีหน้าที่ ขับไล่ ชาวเมืองปาเลสไตน์ เจ้าของประเทศ ตามที่พักอาศัย และที่ดินต่างๆ ที่ชาวปาเลสไตน์เป็นเจ้าของ นับตั้งแต่ ปี 1920 -1948 ภายใต้การควบคู่ และดูแล โดยรัฐบาลอังกฤษ เป้าหมายของกลุ่มดังกล่าว คือการยึดครอง แผ่นดินที่มีชาวปาเลสไตน์อยู่อาศัย หลังจากชารอนได้เข้าร่วมกลุ่ม
เขาได้เริ่มเรียนรู้ที่ ฆ่าคน ตั้งแต่ อายุ ประมาณ 13 หรือ 14 ปี
ภาพ : กองกำลังฮานากา ซึ่งรับภารกิจ ทำลาย และยึดครอง ที่พักอาศัย ของชาวปาเลสไตน์
ฮากานา ประกอบด้วยกลุ่มผู้อพยพชาวยิว ซึ่งได้รับอาวุธจากกองกำลังอังกฤษ ที่อยู่ในปาเลสไตน์ หลังจากที่การรุกรานได้ดำเนินไปถึงระยะหนึ่ง ก็มีการปรกาศการจัดตั้งประเทศอิสราเอลอย่างเป็นทางการขึ้นมา ซึ่งภารกิจ ของฮากานา ก็ไม่เป็นอื่นนอกจากรุบราน และยึดครอง ดินแดนของชาวปาเลสไตน์ต่อไป และหลังจากก่อตั้งประเทศได้สำเร็จ และกองกำลังทหารของอิสราเอล ก็คือฮากานานั้นเอง ซึ่งนอกจาก ฮากานา แล้ว ยังมีกลุ่ม อื่นๆ ถูกบรรจุเข้ามา ในกองทัพ ในปี 1907 ได้แก่ กลุ่ม ฮอชูมีร บัรกีวรอ
นอกจากภารกิจ ยึดครองดินแดนแล้ว ฮากาน้า ยังมีภารกิจอื่นอีกด้วย นั่นก็คือ การลักลอบนำชาวยิว เข้าไปในปาเลสไตน์อย่างผิดกฎหมาย
เมื่อเอเรียล ชารอน อายุได้ 19 ปี เขาเรียนรู้หลายสิ่งอย่างมากมาย จากฮากนา ซึ่งทำให้เขามีประสบการณ์และความช่ำชอง ในการ รบ ปล้นสดม การยึดครอง และการปกครอง ซึ่งในปี 1947 ขณะที่เขาอายุ 19 ปี เขาได้รับตำแหน่ง เป็นหัวหน้าหน่วยรักษาความปลอดภัย ในเมืองต่างๆ ที่มีชาวยิวอาศัย นับเป็นการก้าวกระโดด จาก อาชญากร กลายเป็นผู้นำอาชญากร อย่างไม่ต้องสงสัย
ใน ปี 1947 ชารอน ได้กลายเป็นผู้บัญชาการทหารบกกองทัพ อิสราเอล ในเมืองอิสกันดาริยะฮ เขารับบาดเจ็บจากสงครามดังกล่าว แต่ไม่ถึงขั้นเสียชีวิต
เขาไต่เต้า ในกองทัพของอิสราเอล ได้อย่างรวดเร็ว จนได้รับการแต่งตั้งให้ผู้บัญชาการ หน่วยข่าวกรอง ของกองทัพอิสราเอล ในปี 1952
ชา รอนยังได้สร้าง กองกำลัง อีกกองกำลังหนึ่งขึ้นมา นามว่า กองกำลัง101 โดยนำนักโทษ ชาวยิว ที่อันตราย และต้องโทษประหารชีวิต มาบรรจุในกลุ่มนี้ และใช้กองกำลังนี้ โจมตี หมู่บ้านต่างๆ ของชาวปาเลสไตน์ ชาวเมืองผู้บริสุทธิ์ พวกเขาโจมตี เมือง อัลกอบิฮ และทำการระเบิด และทำลาย บ้านเรือน ที่พักอาศัย เป็นจำนวนถึง41 หลังในครั้งเดียว ซึ่งในการบุกครั้งนี้ ทำให้มีชาวปาเลสไตน์ เสียชีวิต 70 คน แต่ในภายหลัง เขาก็แก้ตัว อย่างไม่กระดากอายว่า “ผมคิดว่า ไม่มีคนอยู่บ้านเหล่านี้ “
หมู่ บ้านอัลกอบิฮ ตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียงเหนือของ บัยตุลมุกอดดัซ และ ในวันที่ 14 ตุลาคม ปี 1953 กลุ่ม ฮากานาได้กำหนด ภารกิจ ให้ทำการโมตี หมู่บ้าน โดยการโจมตี มีประชาชน ผู้บริสุทธิ์ ทั้งเด็ก สตรี และเยาวชน ชาวปาเลสไตน์ เสียชีวิต เป็นจำนวน 70 คน นับเป็นอีกการหนึ่งที่เศร้าสลด อันมาจาก การกระทำของนายเอเรียล ชารอนผู้นี้
ทำร้ายตัวเอง เพื่อหนี จากการตอบคำถาม
ใน ปี 1973 เกิดสงคราม อันเลืองลือ ระหว่างอิสราเอล และอิยิปต์ บริเวณ เมืองท่าสุเอซ โดยอิสราเอลมีเป้าหมายเพื่อยืน ทะเลทรายซีนา ชารอน และเหล่าทหารภายใต้บังคับบัญชาของเขา ปฏิบัติภารกิจ โดยไม่ฟังคำสั่งผู้บัญชาการ หลายต่อหลายครั้ง โดยชารอน และแหล่าทหาร ได้ทำการโจมตี กองทหารอิยิปต์ ซึ่งผลลัพธ์ ก็คือ ทหารอิสราเอล หลายสิบคน เสียชีวิต ด้วยกับการขัดคำสั่งของเขา ซึ่งเริ่มมีเสียงวิพากษ์ วิจารณ์ต่อ การกระทำของเขา ในแต่ละปี อยู่เสมอ เขาจึงหาวิธีแก้ตัว หลังจากที่ แพ้ ทหารชาวอิยิปต์ โดยอ้างกับผ็บรรชาการ ว่าเขาได้รับบาดเจ็บ ขณะทำสงคราม
หลัง จากนั้น ชารอน ได้นำกำลังทหาร บุกเข้าโจมตี บัยตุลมุกอดดัซ อย่างไม่หยุดนั้ง เพื่อเข้ายึดที่ ซึ่งในเหตุการณ์ครั้งนั้น เขาได้ปล่อยข่าวลือ เรื่องการได้รับบาดเจ็บสาเหตุ จากสงคราม แต่ถึงกระนั้น ก็ไม่สามารถตราจสอบถึง ข้ออ้างดังกล่าวำด้อีกตามเคย
กล่าวได้ว่า ทุกครั้งที่ชารอน แพ้สงคราม เขาจะหลีกหนีจากการตอบคำถาม และคำวิพากษ์ วิจารณ์ ด้วยการสร้างบาดแผลให้ตัวเอง
ในยุคสมัยของ Menachem Begin อดีตนายกรัฐมนตรีอิสราเอล ชารอน ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นรัฐมนตร ด้านการเกษตร และกรมการตั้งถื่นฐาน เขาได้กล่าวปราศรัย ในเรื่อง นโยบาย ที่พักอาศัย ว่า “ทุกคนจะต้องเคลื่อนพล และและจะต้องยึดแผ่นดินของชาวปาเลสไตน์ เท่าที่มีความสามารถ เพื่อขยาย อาณาเขต ให้กับแผ่นดินชาวยิว วันนี้ ไม่ว่าท่านจะยึดอะไรได้มาจากพวกเขา มันจะเป็นของท่านในไม่ช้า และถ้าหากท่านไม่ทำเช่นนั้น แผ่นดินของพวกเขาเหล่านี้ มันจะยังคงอยู่ “
หลังจากนั้น Menachem Begin ได้กลับไปทำงาน เป็น รัฐมนตรีกระทรวงสงคราม ในปี 1981 เพื่อทำการปล่อยจรวดขีปนาวุธ หลังจากสมัยของชารอน
อาชญากรรมของชารอน
เป็น ที่ทราบกันแล้ว ว่า ชารอน ได้เริ่ม ฆ่าสังหาร มนุษย์ นับตั้งแต่ อายุ 13 ปี และเรียนรู้วิธีการ ฆ่าล้าง เผ่าพันธุ์ มนุษยชาติ ในค่าย ฮานากา และยังได้ ถล่ม ครัวเรือน ที่มีผู้อยู่อาศัย 41 หลัง ในเมือง อัลกอบีฮ และฆ่าสังหาร ชาวปาเลสไตน์ 70 คน โดยเจตนา ทั้งเด็กและสตรี นี่คือช่วงเริ่มต้น ของการก่ออาชญากรรมที่ร้ายแรงของชารอน และหลังจากนั้น เขาก็เริ่มเล่นบทบาท การฆ่าในระดับที่สูงขึ้น โดยใช้เส้นทางการเมือง ไม่ว่าจะเป็นตำแหน่ง รัฐมนตรีกระทรวงการตั่งถิ่นฐาน รัฐมนตรีกระทรวงสงคราม และในท้ายที่สุด คือ นายกรัฐมนตรี ซึ่งในแต่ละคำแหน่ง ประวัติศาสตร์ได้บันทึก การก่ออาชญากรรม ของเขา อย่างมากมาย
การสังหารหมู่ใน ดีร ยาซีน
ดีร ยาซีน คือ ชื่อ ของหมู่บ้านแห่งหนึ่ง ซึ่งตั้งอยู่ใกล้ บัยตุลมุกอดดัซ ในปี 1948 มีผู้อยู่อาศัย ในหมู่บ้านแห่งนี้ประมาณ 700 คน ในวันที่ 10 เมษายน ของปีเดียวกันนี้ หมู่บ้านแห่งนี้ ได้เป็นพยาน ในการโจมตีอันป่าเถื่อน โดยการออกคำสั่งของ เบกิน โดยมีกลุ่มติดอาวุธ สามกลุ่มที่เข้าบุกโจมตี ได้แก่ อัรกูน ชะทีเรน ภายใต้ คำสั่งของ ไอแซก ชามีร และ ฮากานา ภายใต้การบังคับบัญชาของ เดวิด ซึ่งในการโมตีครั้งนี้ ชาวบ้านได้ละแวกที่อยู่อาศัยในหมู่บ้านแห่งนี้ ทำการต่อสู้ ยืนหยัด และมี ประมาณ 250 คน ซึ่งรวมทั้ง เด็ก และสตรี และคนชรา เสียชีวิตทั้งหมด จากการบุกโจมตีในครั้งนี้ และยังมีเหตุการณที่ทารุณกรรม เกิดขึ้นในภายหลัง เช่นการข่มขืน การวางระเบิด ตามบ้านต่างๆ การ ผ้าท้องผู้หญิง และอื่นๆ
ใน ปี 1956 ในที่สุด ชารอน ก็ได้กลายเป็นผู้บัญชาการทีฟซัรฮีย์ ของกองทัพอิสราเอล ซึ่งเป็นการเป็นเลื่อนแหน่งระดับผู้การ ซึ่งภายหลังสงคราม 6 วัน เขาได้นำพรรค ลิควิด เข้าสู้เวทีการเมือง และในยุคสมัย ของนายกรัฐมนตรี ไอแซก รอบเบน ผลงานของชารอน ทำให้เขาได้เป็นที่ปรึกษา ของไอแซค ในเวลาต่อมา
การสังหารหมู่ ใน ซอบรา และชะทีลา ความอับอายตลอดกาล ของ ชารอน และอิสราเอล
เหตุการณ์ สยองขวัญที่เกิดขึ้น ในซอบรา และชีทีลา โดยเหตุการณ์ดังกล่าวมีชื่อว่า ชิ้นเนื้อแห่งซอบรา และชะทีลา ซึ่งเป็นความทรงจำที่ตามหลอกหลอนชารอนอยู่เสมอ และเป็น อาชญากรรมที่ร้ายแรงที่สุด ของเดรัจฉาน ผู้นี้
หลังจากที่ไซออนิสต์ ต้องผิดหวัง กับการพยายาม สงบศึกกับเลบานอน และการขับไล่ กองกำลัง ปลดปล่อยปาเลสไตน์ อิสราเอล จึงเปลี่ยน เบรุต ให้กลายเป็นทะเลเลือด และดินทราย ซึ่งในขณะนั้น พรรค falonge ซึ่งเป็นพรรคของคริสจักร เป็นผู้นำในการบริหารประเทศเลบนอน ซึ่ง ญะมายีล หัวหน้าพรรฟาลอนกซิส ไดรับการแต่งตั้งเป็นประธานธิบดีเลาบาน ซึ่งภายในเวลาไม่ถึงสามอาทิตย์ หลังจาก รับตั้งแหน่งประธานาธิบดี มีการลอบวางระเบิดที่สำนักงานของพรรค นี้ ซึ่งทำให้ ประธาธิบดี และข้าราชการในพรรคนี้ เสียชีวิตอย่างมากมาย
ซึ่ง ภายหลังจาก การระเบิดครั้งนี้ กองกำลังไซออนิสต์ ได้เข้าปิดล้อม ค่ายผู้ลี้ภัยชาวปาเลสไตน์ทางตอนใต้ของเบรุต ซึ่งมีชาวปาเลสไตน์ และชาวเลบานอน อาศัยอยู่ กว่า 3 หมื่นคน
เรื่องราวของ ผู้ลี้ภัยในค่าย ซอบรา และชะทีลา
รัฐ เถื่อนไซออนิสต์ ภายใต้การบัญชาการ ของเอเรียล ชารอน ได้ร่วมกับ พรรคฟาลอนก์ ในการปิดล้อมค่ายแห่งนี้ และพยายามถอดถอน กองกำลังปลดแอดปาเลสไตน์ ซึ่งเป็นภัยคุกคามต่อิสราเอล และเปลี่ยนเลบานอน เป็นแผ่นดินอิสราเอล
จึงเกิดการโจมตีอย่างอุกอาจ ในวันที่ 16 เดือนกันยายน ปี 1982 ซึ่งการโจมตีในครั้งนี้ ใช้เวลา 38 ชั่วโมง ตามรายงานสถิติ ที่ไม่น่าเชื่อ รายงานว่า มี ผู้อพยพลี้ภัย ขาวปาเลสไตน์ และเลบานอน เสียชีวิต จากการโจมตีในครั้งนี้ ถึง 3300 คน
การ เริ่มปฏิบัติการ ของพรรค ฟาลอนก และการสนับสนุน รัฐเถื่อนไซออนิสต์ เป็นกุญแจที่ ทำให้ไซออนสิต์ สามารถ ฆ่าล้างผลาญ ราวทะเลเลือด ซึ่งจากคำกล่าว ของผ็รอดชีวิตบางส่วน ในช่วงเริ่มต้นนั้น ไซออนิสต และฟาลองก ได้ทำสังหารหมู่ ด้วยอาวุธที่ใช้ในการสังหารเงียบ เช่นมีด หรือ ขวาน โดยเริ่มบุกเข้าแต่ละบ้านของผู้อพยพ และทำการตัดศรีษะ และส่วนต่างๆของร่างกาย ของผู้อยู่อาศัยในแต่ละบ้าน ส่วนบรรดา เด็กสาว และสตรี ถูกข่มขืน กระทำชำเราต่อศพ หลายต่อหลายครั้ง แล้วจึงสังหารในภายหลัง
มี การ ฆ่าหญิงท้อง และผ่าท้องสตรีเหล่านั้น ส่วนผู้ที่มีชีวิต จะถูกเผาทั้งเป็น และอีกส่วนหนึ่งถูกเชือดเหมือนสัตว์ ซึ่งเหตุการณ์เหล่านี้นับเป็นความขมขื่น ที่ฝังอยู่ในใจของผู้รอดชีวิต ที่ได้เห็นเหตุการณ์ต่อหน้า ต่อตา ตนเอง
เดวิด เฮริสท์ ผู้เขียน หนัง THE GUN AND THE OLIVE เป็นนักข่าวภาคสนาม ที่อยู่ในเหตุการณ์อันน่าสะพรึงกลัว การฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ใน ซอบรา และชะทีลา ซึ่งเขาได้บรรยาย สิ่งที่ตนเห็นไว้ในหนังสือของเขาดังนี้
“กองกำลังหน่วยแรกที่ บุกเข้ามาถึง ค่ายชะทีลา คือ หน่วยฟารองกส์ นอกจากพวกเขาจะพกอาวุธหนักมาแล้ว พวกเขายังพกมีด มาด้วยเช่นเดียวกัน เวลาปฏิบัติการสังหารหมู่ คือ 38 ชั่วโมง แม้แต่ในยามค่ำคืน ก็มีการส่องไฟ ในบริเวณค่าย โดยกองทหารอิสราเอล พวกเขาบุกเข้าไปตามบ้านของชาวปาเลสไตน์ ที่กำลังนอนหลับอย่างไม่รู้ตัว กลุ่มฟารองกส์ เริ่มต้นด้วยการทรมานก่อนที่ทำการสังหาร บ้างก็ควักลูกตาออกมา บ้างก็ถลกหนังทั้งเป็น บ้างก็คว้านท้อง เด็กสาว และหญิงบางคน ถูกข่มขืนมากกว่า 6 ครั้ง และหลังจากนั้น จึงตัดหน้าอกของเธอทิ้ง และจากนั้น จึงไล่ยิ่งจากขา ของพวกเธอ พวกเขาหั่นเด็กๆออกเป็นสองส่วน แล้วนำสมองไปขว้างทิ้งที่กำแพง และพวกเขายังบุกไปยังโรงพยาบาล และฆ่าผู้ป่วย ขณะที่อยู่บนเตียงคนไข้ และพวกเขายังเอามือของชาวปาเลสไตน์ไปผูกกับรถ และลากไปตามถนน มือและนิ้ว ถูกตัดทิ้งเกลื่อนกลาด ร่างที่ไร้วิญญาณของผู้บริสุทธิ์ ถูกทิ้งไว้อยู่หลายวัน ตามท้องถนน ซึ่งมี สัตว์(เช่นแมว) มากินเนื้อ และแทะจากร่างแหล่านั้น ความน่ากลัวของมัน คือ แม้แต่คนที่ยังมีชีวิต ก็ถูกโจมตี ด้วยความเคยชิน ของสัตว์เหล่านี้
ผู้บัญชาการทหาร สั่งให้ทำการสังหารหมู่ต่อเนื่อง จนถึง 8 โมงเช้า
หลังจากที่ทหาร ได้เข้ายังค่าย สำเร็จแล้ว รถถังมากมาย ก็เคลื่อนพลเข้าไปยังค่าย และเริ่มทำการเก็บกวาดด้วยการยิงปืนใหญ่ ในที่ที่ไม่ทหารอิสราเอล อยู่ในพื้นที่ หลังจากที่มีการยิงปืนใหญ่ มีการขุดหลุมศพขนาดใหญ่ขึ้นมา เพื่อฝังร่างที่ไร้วิญญาณ เหล่านี้ ในคราเดียว ซึ่งในหลุมเหล่านั้น มีทั้งผู้ที่พลีชีพตนเอง และที่น่ากลัวก็คือ ผู้ที่มีชีวิต ก็ถูกฝังลงไปทั้งเป็นด้วยเช่นเดียวกัน ด้วยเหตุนี้เอง จึงไม่อาจหาสถิติ ของยอดผู้เสียชีวิต ได้อย่างถูกต้อง
หลัง จากที่กองทัพ ได้เข้ายึดพื้นที่ในค่ายสำเร็จแล้ว กลับไม่พบร่างของกลุ่ม สมาชิกปลดแอดปาเลสไตน์ที่ระบุตัวตนได้ แม้แต่คนเดียว เพราะที่นั่น คือที่หลบภัยของ ผู้อพยพหลี้ภัย และคนธรรมดาที่ไม่ใช่ทหาร อาศัยอยู่นั่นเอง
ภายหลัง จากการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ครั้งนี้ ชารอน ก็ถูกรู้จักในนาม ผู้วางแผนการครั้งนี้ หลังฉาก และหลังจากนั้นช่วงระยะเวลาหนึ่ง เขาก็ได้ลาออกจาก รัฐมนตรีกระทรวงสงคราม
แต่ ถึงกระนั้น การลาออกของเขา ก็ไม่ได้ทำให้ความกระหายเลือด ลดน้อยลงไป เขายังคงก่ออาชญากรรมอีกต่อไป แต่ในครั้งนต่อไปหลงจากนี้ บทบาทของเขา คือ นายกรัฐมนตรีเปื้อนเลือดนั่นเอง
เมื่อ ชารอน ก้าวเข้าสู่ตำแหน่งนายกรัฐมนตรี เขาเดินทางไปยังมัสยิดอักศอ และได้คุกคามชาวปาเลสไตน์ที่นั้น ผลจากการนองเลือดระหว่างทหารอิสราเอล และชาวปาเลสไตน์ เป็นเหตุให้แผนการยึดมัสยิดอักซอ เริ่มกระบวนการ
การสังหารหมู่ผู้หลบภัยในเมือง กานา
เมือง กานา ตั้งอยู่ ทางตอนใต้ของเลบานอน ในปี 1996 ได้เกิดสงครามขึ้นในเลบานอน อิสราเอล ได้เข้าโจมตีทางตอนใต้ของเลบานอน ทำให้ เด็กและสตรี ต้องอพยพลี้ภัย ไปยังเมืองกานา แต่กลุ่มไซออนิสต์ ก็ยังบุกโจมตี ทุกสถานที่ ทั้งเคหะสถาน ที่พักอาศัย รวมถึงมนุษย์ พวกเขายิงระเบิด ไปในอาคาร ผู้หลี้ภัยแห่งนี้ จากการโจมตีในครั้งนี้ มีผู้เสียชีวิต กว่า 100คน ซึ่งใน 33 คนนั้น เป็นเด็กที่มีอายุไม่ถึง 10 ปี
การสังหารชาวปาเลสไตน์ หน้าฉาก
จอ รช์ ….. พนักงานชาวฮอนแลนด์ ได้กล่าวถึงอาชญากรรมใน ซอบรา และชะทีลา ว่า เมื่อครั้งที่ อิสราเอล ได้โจมตีเบรุต ในปี 1982 เขาได้เห็น ชารอน ได้ฆ่าเด็กชาวปาเลสไตน์สองคน ในซอบราชะทีลา
การสังหารหมู่เชลยชาวอิยิปต์
ใน เหตุการณ์ สังหารหมู่ ณ แม่นำ ซูเอส ทหารอิสราเอล ภายใต้การบังคับบัญชาของ ชารอน ได้ทำการสังหารหมู่ นักโทษ ชาวอิยิปต์ ไร้อาวุธ ถึง 300 คน และทำการฝังหมู่ศพพวกเขาเหล่านี้ หนังสือพิมพ์ เดลี่เทเลกราฟ ได้ตีพิมพ์เปิดโปงความผชั่วร้ายของชารอนในครั้งนี้ ซึ่งในเวลานั้น ความสัมพันธ์ระหว่าง อิยิปต์และอิสราเอล อยู่ในที่กำลังร้อนระอุ
ลอบสังหารผู้นำชาวปาเลสไตน์
ใน สมัยที่เอเรียล เป็นนายกรัฐมนตรีอิสราเอล ภารกิจการลอบสังหารเริ่มเข้มข้นขึ้น และการลอบสังหาร ผู้นำปาเลสไตน์ กลายเป็นสิ่งคำสั่งที่จริงจังมากยิ่งขึ้น
การ ลอบสังหาร เชคอะฮหมัดยาซีน และอับดุลอะซีซ รอนตีซีย์ ซึ่งเป็นผู้นำในขบวนการอิสลามในปาเลสไตน์ ซึ่งเป็นภารกิจที่เปิดเผยที่สุดในสมัยของชารอน
ชารอนได้ใช้เวลา ช่วงหนึ่งในการพัฒนาประเทศ และสร้างประเทศของยิว เขาถูกเรียกว่า ผู้แข็งแกร่งของชาวยิว เพราะการทำสงครามกับเลบานอน และการทำหน้าที่ทางการเมือง ในตำแหน่ง รัฐมนตรีกระทรวงสงคราม และกรทรวงจัดตั้งถิ่นฐาน แต่ขณะเดียวกันปัญหาหลักสำคัญที่ให้อิสราเอล อ่อนแอ คือการรวมอำนาจของฮิสบุลลอฮ
ใน เวลาเดียวกัน ชารอน พยายามหาเสียงให้กับพรรคลิควิด เพื่อหาเสียงให้กับตัวเอง เขาได้ให้สัญญา ว่า ถ้าเขาได้เป็นนายกรัฐมนตรี เขาจะทำการเผด็จปาเลสไตน์ โดยใช้เวลา เพียง 100วัน และจะทำให้อิสราเอล มั่นคงยิ่งขึ้น
การลอบสังหาร ไอแซก รอบเบน
ความ กระด้างของชารอน ไม่ได้กระหน่ำลงแต่ผู้ที่ไม่ช่ชาวยิว เท่านั้น แม้แต่เพื่อนของเขาเอง ก็ทรยศหักหลัง ชาวอิสราเอลส่วนมาก มักจะกล่าวอยู่เสมอว่า เพราะ ไอแซกสาปแช่ง ชารอน ทำให้ชารอน ฆ่าไอแซค
อาการป่วย ของชารอน
หลัง จากเวลาผ่านไปใม่นาน ชายผู้ดื่มเลือดมนุษยชาติ ก็เริ่มป่วยทรุดหนังลง เพียงเครื่องช่วยหายใจเท่านั้นที่ทำให้เขามีชีวิตอยู่ได้ งบประมาณ และค่าใช้จ่าย ถูกใช้ไปอย่างมากมาย เพื่อต่อเวลา ยื้อชีวิตของเขา แต่ท้ายที่สุด ซาตานในคราบมนุษย์ ก็จะต้องกลับสู่ธุลีดิน รอการพิพากษา อันหนักหน่วงในโลกหน้า
การ ตายของชารอน ไม่ได้มีแต่ มุสลิมเท่านั้นที่สาปแช่งเขา เหล่าบรรดาชาวยิว ก็ทำการสาปแช่ง ต่อชายผู้นี้ด้วยเช่นเดียวกัน ตลอดชีวิตของเขา ได้ทำการเข่นฆ่า สังหาร ผู้คนอย่างมากมายนับไม่ถ้วน
ซึ่ง ในขณะที่ เขาถูกฟังลงนั้น ได้เกิดแผ่นดินไหวขึ้นมา เป็นเหมือนสัญลักษณ์ ว่า ความชั่วร้ายของชายผู้นี้ แม้แต่แผ่นดิน ยังไม่ยอมรับ ร่างของเขา ….