เมื่อพูดถึงความสำเร็จของการปฏิ วัติอิสลามในด้านต่างๆ การส่งเสริมการรู้หนังสือของผู้ หญิง ถือได้ว่า เป็นคุณลักษณะที่สำคัญที่สุ ดประการหนึ่ง ที่ต้องกล่าวถึงอย่างไม่ต้ องสงสัย โดยเมื่อคำนึงถึงปัจจัยที่กล่ าวมาข้างต้น เราก็จะมีความเข้าใจเกี่ยวกั บการรู้หนังสือและการศึกษาของผู้ หญิงมากขึ้น นี่เป็นจุดสำคัญในการพั ฒนาความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ ยวกับการรู้หนังสื อและสถานะทางการศึกษาของผู้หญิง การทบทวนตรวจสอบปัจจัยดังกล่าว ตั้งแต่ยุคก่อนการปฏิวัติ จนถึงปัจจุบัน ได้มุ่งเน้นไปยังสถิติตัวเลขที่ ถูกเผยแพร่อย่างเป็นทางการ ก่อนและหลังการปฏิวัติอิสลาม
ทั้งนี้ มีความจำเป็นต้องตรวจสอบมุ มมองทั่วไปของสาธารณรัฐอิสลามอิ หร่านที่มีต่อสตรี ก่อนที่จะทำการทบทวนตรวจสอบ ประสิทธิภาพของสาธารณรัฐอิ สลามในแง่ของการรู้หนังสือของผู้ หญิง
ในมาตรา 20 – รัฐธรรมนูญแห่งสาธารณรัฐอิ สลามแห่งอิหร่าน เน้นย้ำเรื่องความเป็นมนุษย์ โดยไม่คำนึงถึงเพศ อย่างชัดเจน และด้วยเหตุนี้ จึงเน้นย้ำถึงการมีส่วนแบ่งที่ เท่าเทียมกันในสิทธิมนุษยชน ในทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมของมนุษย์ ยิ่งไปกว่านั้น มาตรา 21 ยังเน้นย้ำถึงความจำเป็ นในการปกป้องสิทธิของผู้หญิง โดยประกาศว่า ทุกคนควรเคารพสิทธิของผู้หญิง และยังยืนยันว่า สิทธิเหล่านี้เป็นความรับผิ ดชอบอย่างหนึ่งของฝ่ายบริหาร และองค์กรรัฐของประเทศ
เอกสารที่เป็นมูลฐานอีกประการ ซึ่งกล่าวถึงสิทธิสตรีในอิหร่ านคือ “กฎบัตรสิทธิ และความรับผิดชอบของสตรี” ซึ่งระบุและให้สัตยาบัน โดยองค์กรที่มีสิทธิ์ในการตัดสิ นใจ ที่สำคัญที่สุดแห่งหนึ่งในอิหร่ าน ชื่อว่า สภาสูงสุดแห่งการปฏิวัติด้านวั ฒนธรรม โดยในภาคส่วน “การศึกษา” เอกสารดังกล่าว ได้ระบุถึงประเด็นดังต่อไปนี้:
- สิทธิของผู้หญิงในการได้รั
บประโยชน์จากสุขภาพ (เช่น สุขภาพในสภาพแวดล้อมการทำงาน ฯลฯ ) และสิทธิในการได้รับประโยชน์ จากข้อมูล และช่องทางการศึกษาที่จำเป็น;
- สิทธิของผู้หญิงในการมีส่วนร่
วมทางการเมือง การออกกฎหมาย การจัดการ การดำเนินการ และการกำกับดูแล สุขภาพ และการรักษา โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ที่เกี่ยวข้องกับผู้หญิง;
- สิทธิของผู้หญิงในการเข้าถึ
งการศึกษาของรัฐ และได้รับประโยชน์จากการปรับปรุ งด้านการศึกษา และจากช่องทางด้านการศึกษาที่ หลากหลายต่างๆ;
- สิทธิของผู้หญิงที่จะได้รั
บประโยชน์จากการศึกษาระดับอุ ดมศึกษา จนถึงระดับสูงสุด;
- สิทธิของผู้หญิงในการได้รั
บประโยชน์จากสิทธิพิเศษทางการศึ กษา ในพื้นที่ด้อยโอกาส; - สิทธิของผู้หญิง ในความพยายามรับผิดชอบการเตรี
ยมโรงเรียน และอุปกรณ์การเรียนอื่นๆ;
- สิทธิและความรับผิดชอบของผู้หญิ
งในการได้รับมาซึ่ง ตำแหน่งที่เหมาะสมกับสถานะ และบทบาทของพวกเธอในโรงเรียน และหน่วยงานทางการศึกษาอื่น ๆ
นอกเหนือจากนโยบาย และเอกสารที่เป็นรากฐาน เกี่ยวกับการศึกษาของสตรีในอิ หร่านแล้ว บรรดาผู้นำ และเจ้าหน้าที่ระดับสู งของสาธารณรัฐอิสลามอิหร่าน ยังเน้นย้ำถึงความจำเป็นในการจั ดเตรียมโครงสร้างพื้นฐาน และโอกาสที่จำเป็นสำหรับความก้ าวหน้า และการเติบโตของผู้หญิงในชีวิ ตส่วนตัว และสังคมของพวกเธอ ในสุนทรพจน์ต่างๆของพวกเขาอย่ างสม่ำเสมอ ตัวอย่างเช่น อยาตุลลอฮ์ คาเมเนอี ผู้นำการปฏิวัติอิสลามคนปัจจุบั น กล่าวว่า:
“..สตรี มีบทบาทในกิจกรรมทางสังคม การเมืองวิทยาศาสตร์ และเศรษฐกิจ จากมุมมองของศาสนาอิสลาม เวทีสำหรับกิจกรรมทางวิ ทยาศาสตร์เศรษฐกิจ และการเมืองของสตรี เปิดกว้างอย่างสมบูรณ์ หากมีผู้ใดตัดสินใจกีดกันสตรี จากงานด้านวิทยาศาสตร์ และความพยายามทางเศรษฐกิจ การเมือง และสังคม บนพื้นฐานของมุมมองของอิสลาม พวกเขาได้กระทำการขัดต่อพระบั ญชาของพระผู้เป็นเจ้า สตรีสามารถมีส่วนร่วมในกิ จกรรมต่างๆได้มากเท่าที่ ความสามารถทางร่างกาย และความต้องการของพวกเธอจะเอื้ ออำนวย พวกเธอสามารถมีส่วนร่วมในกิ จกรรมทางเศรษฐกิจ การเมืองและสังคมได้มากเท่าที่ จะทำได้ กฎชารีอะฮ์อิสลามอันศักดิ์สิทธิ์ [กฎหมายอิสลาม] ไม่ได้ต่อต้านมัน แน่นอนว่า เนื่องจากผู้หญิงมีความละเอี ยดอ่อนในด้านกายภาพ จึงมีข้อจำกัด บางประการ..” [1]
ความสนใจเป็นพิเศษที่มีให้แก่ผู้ หญิงโดยเฉพาะเกี่ยวกับชีวิตด้ านการศึกษาและวิทยาการของพวกเธอได้นำไปสู่การเปลี่ยนแปลงที่เป็ นรูปธรรมและเป็นที่น่าสังเกตในความก้ าวหน้าทางด้านชีวิตส่วนบุคคลสังคมและวิทยาศาสตร์ของพวกเธอในยุคหลังการปฏิวัติอิสลามอิหร่ าน
นับตั้งแต่เริ่มมีการปฏิวัติอิ สลามในปีค.ศ.1979 ได้มีการนำมาตรการที่ดีมาใช้อย่ างรวดเร็วและด้วยความจริงจังอย่างสมบูรณ์ในความสอดคล้องกับการส่งเสริ มการรู้หนังสือของสตรีอย่ างรอบด้านและทั่วถึงโดยมีผลลัพธ์ที่เป็นรูปธรรม: ซึ่งอัตราการรู้หนังสือของผู้ หญิงเพิ่มขึ้นจาก 37 เปอร์เซ็นต์ในปี 1976 เป็น 87 เปอร์เซ็นต์ในปี 2015 เป็นที่น่าสังเกตว่าอัตราการรู้หนังสือของผู้หญิงอิ หร่านนั้นยังสูงกว่าค่าเฉลี่ยทั่วโลกด้ วยซ้ำ
นอกเหนือจากอัตราการรู้หนังสื อของผู้หญิงที่เพิ่มขึ้นอย่างมี นัยสำคัญหลังจากการปฏิวัติอิ สลามแล้ว ผู้หญิงยังได้รับประโยชน์ จากสภาพเงื่อนไขที่ดีขึ้นมาก เมื่อคำนึงถึงแง่ของความยุติ ธรรมทางการศึกษา ภายในขอบเขตด้านการขยายการรู้ หนังสือ – เมื่อเทียบกับยุคก่อนการปฏิวัติ
ก่อนการปฏิวัติอิสลาม อัตราการรู้หนังสือของผู้หญิ งอยู่ที่ 24 เปอร์เซ็นต์ คิดเป็นเกือบครึ่งหนึ่งของอั ตราการรู้หนังสือของผู้ชาย – หรือประมาณ 48 เปอร์เซ็นต์ อย่างไรก็ตาม หลังการปฏิวัติอิสลาม ช่องว่างระหว่างเพศในการรู้หนั งสือสำหรับผู้ใหญ่ ลดลงเหลือ 9 เปอร์เซ็นต์ [2]
เมื่อวิเคราะห์ถึงยุคปาห์ลาวี มักมีการอ้างว่า สถานการณ์ของผู้หญิงมีการเปลี่ ยนแปลงในเชิงบวกอย่างมากมาย ซึ่งต้องขอบคุณไปยัง การถูกทำให้ทันสมัย (modernization) ของสังคม อย่างไรก็ตาม มีข้อโต้แย้งว่า การเปลี่ยนแปลงดังกล่าวเป็ นไปอย่างผิวเผินมากกว่าในทางปฏิ บัติจริง อับบาซี และ มูซาวี ชี้ให้เห็นว่า ไม่เพียง แต่ความทันสมัยของสังคมอิหร่ านไม่ได้ก่อให้เกิดการเปลี่ ยนแปลง เมื่อกล่าวถึงสภาพสังคมของผู้ หญิงในอิหร่านก่อนการปฏิวัติ โดยทั่วไป เท่านั้น แต่มันยัง “สร้างความแตกแยกในหมู่ผู้หญิ งจำนวนมาก และยังทำลายสถานภาพของผู้หญิงส่ วนใหญ่ ที่นิยม(ฝักใฝ่)ในศาสนา เมื่อคำนึงถึงแง่ของการตระหนั กรู้ทางการศึกษา และสังคม ซึ่งสิ่งนี้ มีต้นตอมาจากการที่รัฐบาลไม่ แยแสต่อสิทธิทางการเมือง และสิทธิพลเมืองของสตรี และจากการผลักดันพวกเธอไปสู่ ความเสื่อมโทรม ตัวอย่างเช่น ความจำเป็นที่จะต้องดำเนินการ โดยการบังคับให้สตรีถอดฮิญาบ และต่อมาก็มีการปราบปรามสตรีที่ นิยมปฏิบัติตามจารีต เพื่อการบังคับใช้มาตราการนั้น “(60). [3]
โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในด้านการศึกษา การเปลี่ยนแปลงบางอย่างที่เกิ ดจากความทันสมัยในยุคปาห์ลาวี ยังได้รับการสบประมาทว่า ไร้ประสิทธิภาพ เนื่องจากความขัดแย้ง และความแตกต่างอย่างโดดเด่ นของการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว ที่มีไปยังวัฒนธรรมและอัตลักษณ์ ของอิหร่าน ตัวอย่างเช่น ในบทความ “ การศึกษาในรัชสมัยของราชวงศ์ ปาห์ลาวีในอิหร่าน (1941-1979)” ฮัมดาอิดารี ระบุว่า โครงสร้างการศึกษาใหม่ในยุ คของโมฮัมหมัดเรซา ปาห์ลาวี “ถูกกำหนดบังคับ” และ มัน “ไม่สัมพันธ์” กับความเป็นจริงทางวัฒนธรรม สังคม และเศรษฐกิจของสังคมอิหร่าน และต่อความต้องการของสังคม” (17) [4]
ยิ่งไปกว่านั้น นโยบายมหภาคของระบอบการปกครอง ในแง่ของวัฒนธรรม ยังมุ่งเน้นไปที่การกำจัดผู้หญิ งออกจากวงจรของกิ จกรรมทางเศรษฐกิจและสังคม และกำหนดให้พวกเธอเป็นสินค้ าทางเพศเพื่อการรับใช้ระบบสั งคมที่ชายเป็นใหญ่ (สังคมปิตาธิปไตย)
สำหรับการพิสูจน์ความไร้ประสิ ทธิภาพของนโยบาย ปาห์ลาวีที่มีต่อผู้หญิง และอัตลักษณ์ของผู้หญิงเพิ่มเติ ม สามารถเห็นได้จาก บทสัมภาษณ์ที่มีชื่อเสียงของ โอเรียนา ฟัลลาซี กับ โมฮัมหมัดเรซา ปาห์ลาวี ซึ่งเขาได้ตอบคำถาม เกี่ยวกับการเพิ่มขี ดความสามารถของผู้หญิง คำตอบของเขาแสดงให้ถึงมุมมองที่ น่าอับอายและเสื่อมโทรมของผู้ ปกครองปาห์ลาวี ที่มีต่อผู้หญิงอย่างชัดเจน โดยไม่ต้องสงสัยถึงทัศนคติ ของเขาที่มีต่อผู้หญิง เขาตอบว่า:
“..พวกคุณ [ผู้หญิง] ไม่เคยผลิต [บุคคลอย่าง] Michelangelo หรือ Bach พวกคุณไม่เคย แม้แต่จะสร้างนักปรุงอาหารฝีมื อเยี่ยมด้วยซ้ำ และอย่าพูดถึงโอกาส ล้อเล่นใช่ไหม? พวกคุณขาดโอกาส ที่จะสร้างประวัติศาสตร์การเป็ นนักปรุงอาหารที่ยอดเยี่ยมกระนั้ นหรือ? คุณไม่ได้ผลิตอะไรที่ยอดเยี่ยม ไม่มีอะไรเลย!…” [5]
การตรวจสอบทางสถิติสามารถชี้ให้เห็นความแตกต่ างระหว่างมุ มมองของระบอบการปกครองเดิมของอิ หร่านและระบอบสาธารณรัฐอิสลามในด้านการมีส่วนร่วมของผู้หญิ งในวิทยาศาสตร์และการวิจัยจากสถิติสากลที่เปรียบเที ยบระบอบการปกครองเดิมกับระบอบสาธารณรัฐอิสลามแห่งอิ หร่านอัตราการประสบความสำเร็จทางวิ ชาการของผู้หญิงเติบโตขึ้นอย่ างมากในยุคหลังการปฏิวัติโดยเฉพาะในปี 2008 การรับเข้ามหาวิทยาลัยของผู้หญิ งมีเกิน 50 เปอร์เซ็นต์ของอัตราการรับเข้าโดยรวมซึ่งมีมากถึง 53 เปอร์เซ็นต์ [6] ความพยายามของอิหร่านในการลดช่ องว่างระหว่างเพศในการศึกษาระดับอุดมศึกษาได้ ผลเป็นอย่างมากจนกระทั่งองค์กรธนาคารโลก (World Bank) ประกาศในรายงานประจำปีเกี่ยวกับการพัฒนาตะวั นออกกลางและแอฟริกาเหนือว่า “ในอิหร่านในปี 2008 เป็นปีที่สี่ติดต่อกันที่เปอร์ เซ็นต์ของเด็กผู้หญิงที่ผ่ านการสอบเข้ามหาวิทยาลัยอย่ างเข้มงวดมีเกินเปอร์เซ็นต์ของเด็กผู้ ชายที่สอบผ่าน “(34-35) [7]
ในช่วงเวลาของสาธารณรัฐอิสลาม ผู้หญิงค้นพบโอกาสในความก้าวหน้ าอย่างเท่าทวีคูณ ในทุกระดับของการศึกษาระดับสูง ในขณะที่ทรัพยากรดังกล่าวไม่มี อยู่ในระบอบการปกครองเดิม โดยพื้นฐานแล้ว ระบบกษัตริย์ในอิหร่าน ใช้มุมมองแบบผิวเผินต่อผู้หญิง โดยมองว่าพวกเธอเป็นสินค้าในสั งคม
นอกเหนือจากการที่ผู้หญิ งสามารถเข้าถึงสภาพแวดล้อมทางวิ ชาการ และวิทยาศาสตร์ได้มากขึ้น สภาพของผู้หญิง เมื่อคำนึงถึ งของความหลากหลายของสาขาวิ ชาการที่มีให้แก่พวกเธอ ก็ได้รับการปรับปรุงขึ้นเป็นอย่ างมาก ผู้หญิงได้รับความเท่าเทียม โดยสัมพัทธ์กับผู้ ชายในสาขาการศึกษาที่แตกต่างกัน และพวกเธอยังแซงหน้ าพวกเขาในบางสาขา ดังที่ปรากฏอย่างชัดเจน ในแผนภาพต่อไปนี้ ในปี 2017 จำนวนบัณฑิตหญิงในสาขาการแพทย์ และวิทยาศาสตร์พื้นฐาน มีจำนวนมากกว่าบัณฑิตชาย เฉพาะในสาขาด้านเทคนิค และวิศวกรรมเท่านั้น ที่มีจำนวนผู้สำเร็จการศึ กษาชายสูงกว่าผู้หญิง อย่างมีนัยสำคัญ อันเป็นผลมาจากธรรมชาติ ของสาขาวิชาเหล่านี้ [8]
โดยไม่คำนึงถึงเพศ หลังจากการปฏิวัติอิสลาม การเข้าถึงมหาวิทยาลั ยและสภาพแวดล้อมทางวิ ชาการและความเต็มใจที่จะทำเช่ นนั้นในหมู่ชาวอิหร่านได้เพิ่ มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญ เมื่อเทียบกับยุคก่อนการปฏิวัติ ในปี 1976 มีชาวอิหร่านเพียงไม่ถึง 4 เปอร์เซ็นต์ เท่านั้น ที่จบการศึกษาระดับมัธยมศึ กษาตอนปลาย และศึกษาต่อในการศึกษาระดับสูง แต่ทว่าหลังจากการปฏิวัติอิสลาม เพื่อการบริหารความยุติ ธรรมทางการศึกษา และด้วยการมีอยู่ของโครงสร้างพื้ นฐานที่จำเป็น ทำให้การบรรลุซึ่งการศึ กษาในระดับสูงกลายเป็นสิ่งที่ เป็นไปได้ สำหรับประชากรอิหร่านในเปอร์เซ็ นต์ที่สูง
จากสถิติระหว่างประเทศ ในปี 2014 ระบุว่า เกือบ 66 เปอร์เซ็นต์ ของประชากรอิหร่าน ที่จบมัธยมปลาย เข้าศึกษาต่อในมหาวิทยาลัย สิ่งนี้เป็นที่น่าสังเกต ซึ่งควรแก่การกล่าวถึงว่า อัตราความสำเร็จของอิหร่าน ในการขยายและจัดหาสภาพแวดล้ อมทางวิชาการ และการวิจัย ตลอดจนการส่งเสริมให้ประชาชนได้ มาซึ่งการรู้หนังสือนั้น สูงกว่าอัตราการเติบโตนี้ของทั่ วโลกเกือบสองเท่า
การรู้หนังสือของผู้หญิงอิหร่าน ไม่เพียงแต่เป็นที่ประจักษ์ได้ ด้วยความก้าวหน้าในแง่ของปริ มาณเท่านั้น แต่ยังรวมถึง ความหลากหลายทางภูมิศาสตร์ที่พั ฒนาขึ้น และการกระจายทางภูมิศาสตร์ที่ เป็นธรรม มากขึ้น ภายหลังการปฏิวัติอิสลาม โดยในปี 1977 มีเพียงร้อยละ 17 ของประชากรหญิงในพื้นที่ชนบทเท่ านั้น ที่อ่านออกเขียนได้ ในขณะที่ในปี 2017 ผู้หญิง 73 เปอร์เซ็นต์ในพื้นที่ ชนบทสามารถอ่านออกเขียนได้ สิ่งนี้บ่งชี้ว่า มีอัตราเพิ่มขึ้นมากกว่า 5 เท่า (670) [9]
การปฏิรูปทางด้านโครงสร้าง และสติปัญญา ที่ดำเนินการในอิหร่าน ในด้านที่เกี่ยวข้องกับสตรี ทำให้ผู้หญิงมีการเปลี่ยนแปลงด้ านการรู้หนังสือดังกล่าวข้างต้น การจัดหาซึ่งวิทยาศาสตร์ และความรู้แก่ผู้หญิง และการอำนวยความสะดวกในการเข้ าถึงสภาพแวดล้อมทางวิชาการแก่ พวกเธอ ตลอดจนการรับรองอัตลักษณ์และศั กดิ์ศรีของผู้หญิงอิหร่าน ทำให้สภาพของอิหร่านดีขึ้นเป็ นอย่างมาก ในด้านการบริการสาธารณะ และการพัฒนาความเชี่ ยวชาญและผลงานที่อาศัยทักษะ สิ่งนี้ถูกพิสูจน์ จากจำนวนแพทย์หญิง ที่เพิ่มขึ้น 10 เท่าระหว่างปี 1979 ถึงปี 2012 โดยที่ก่อนการปฏิวัติอิสลามนั้น จำนวนแพทย์หญิง มีอยู่ที่ 1,988 คน ในขณะที่ตัวเลขดังกล่าวเพิ่มสู งถึง 20,177 คน ภายหลังการปฏิวัติ [10]
ในกรณีของการจัดการศึกษา บทบาทของสตรีหลังการปฏิวัตินั้ นเทียบไม่ได้กับยุคก่อนการปฏิวั ติ การเข้าถึงการศึกษาระดับอุดมศึ กษาของผู้หญิงที่มากขึ้นทำให้ผู้ หญิงจำนวนมาก สามารถเข้ารับตำแหน่งด้านการจั ดการในขอบเขตการศึกษาได้ และนำไปสู่การเพิ่มขึ้ นของจำนวนอาจารย์ และคณาจารย์หญิงในมหาวิทยาลัย ในรายงานเกี่ยวกับจำนวนคณาจารย์ หญิงในมหาวิทยาลัย ธนาคารโลกระบุว่า จำนวนสมาชิกคณะกรรมการหญิง เพิ่มขึ้นสามเท่า จาก 11 เปอร์เซ็นต์ในปี 1970 เป็นมากกว่า 30 เปอร์เซ็นต์ในปี 2016 [11]
_____________
[2] https://data.worldbank.org/ indicator/SE.ADT.LITR.FE.ZS? end=2016&locations=IR&start= 1976&view=chart
[3] Somaye, Abbasi, and Musavi Mansoor. “The Status of Iranian Women during the Pahlavi Regime (from 1921 to 1953).” Women’s Studies, vol. 5, no. 9, 2014, pp. 59–82.
[4] Hamdhaidari, Shokrollah. “Education during the Reign of the Pahlavi Dynasty in Iran (1941–1979).” Teaching in Higher Education, vol. 13, no. 1, 2008, pp. 17–28.
[7] Gender and Development in the Middle East and North Africa: Women in the Public Sphere. World Bank, 2004.
[8] Iran Statistical Yearbook 2016-2017. Statistical Center of Iran, 2017.
[9] Iran Statistical Yearbook 2016-2017. Statistical Center of Iran, 2017.
[10] Simforoosh N, Ziaee SAM, Tabatabai SH. “Growth Trends in Medical Specialists Education in Iran. 1979 – 2013.” Arch Iran Med. 2014; 17(11): 771 – 775.
___________